top of page
รูปภาพนักเขียนJanine Yasovant

Phra Bang: Lamphun Province พระบาง จังหวัดลำพูน

อัปเดตเมื่อ 3 ม.ค. 2563



ขอขอบคุณ "คุณพัฒน์ มุมเล็กๆ" สำหรับวิดิโอคลิป Thank you for a nice video clip from "คุณพัฒน์ มุมเล็กๆ"



The study of the Lamphun Amulets existed for a long time by using many methods such as comparison and contrasting. the year of making, the location they were found and dug up. origin and history and etc. For Phra bang amulets of Lamphun Province, it is speculated that they were not made during the period of Phra Nang Chamdhevi of Hariphunchai Empire because there are many similarities and differences in materials and colors. It is thought that the period of time is around 700 years after Phra Nang Chamdhevi Period is The art of Lamphun amulets is always exciting because of the age and great history. The Thai art was blended with the beauty of Indian Kupta. The Kupta Dynasty existed during B.E. 900 - B.E. 1300 and it was regarded as the golden Age of India. It was also the prototype of Buddhist Art coming in the land of Suwannabhumi (Thailand). Marvelously, the great art style from India blended really well with the style of Thai local artisans with the solid foundation. It is very surprising that the local artisans from Hariphunchai or Lopburi could bring the harmony and classification of Thai amulets intelligently and clearly. The usage of each amulet type was clearly defined for protection and invincibility during constant war times in the past and around 2,000 years of continuous development.


Hariphunchai Kingdom, อาณาจักรหริภุญชัย

การดูพระสกุลลำพูนมีการศึกษามาช้านาน มีการเปรียบเทียบลักษณะแตกต่าง ปีที่จัดสร้าง แหล่งที่ขุดพบ และประวัติความเป็นมา การสร้างก็สันนิษฐานว่าไม่ใช่สมัยเดียวกับเจ้าแม่จามเทวีน่าจะเป็นยุคสมัยหลังๆ

เพราะมีลักษณะต่างๆ กระจายไปทั่ว มีชื่อเรียก จำแนกกับเนื้อพระ สี ศิลปะของพระสกุลลำพูนเป็นที่น่าตื่นตาตื่นใจเสมอ เพราะความเก่ากับตำนานที่ยิ่งใหญ่ ประกอบกับศิลปะปะปนความงามแบบคุปตะของอินเดีย ในราชวงค์คุปตะ พุทธศตวรรษทึ่ 9 – 13 ซึ่งมีแบบงดงามมาก และเรียกว่าเป็นยุคทองของอินเดีย เป็นพุทธศิลป์ตัวต้นของแบบพระพุทธเจ้าที่เข้ามาในสุวรรณภูมิ ผสมผสานกับช่างท้องถิ่น โดยมีรากฐานที่มั่นคงจนแทบไม่น่าเชื่อว่าช่างสมัยก่อนของหริภุญชัยหรือลพบุรี จะนำความกลมกลืนและแยกแยะแบบของพระเครื่องได้อย่างชาญฉลาดและชัดเจน แถมยังบอกการใช้และพุทธคุณของแต่ละแบบพระ เพื่อใช้ในการป้องกันตัว ในการรบที่มีมาเสมอในโบราณกาล มีการพัฒนาสืบเนื่องกันมายาวนานร่วม 2,000 ปี



Kantaraj Buddha Image from Kupta Dynasty India

In the example of Lamphun amulets, which I have illustrations of Phra Rod, Phra Khong and one day in the morning, I found that while I was searching for types of Phra Luae

for readers to see. There I found an amulet of Phra Bang with the color of Bullet Wood flower. The name is consistent with the shape of the amulet which is very thin and gentle. The seated Buddha image in the attitude of subduing Mara sitting cross-legs. His left palm is placed upwards on the left leg and his right palm is placed downwards on the right knee it is the same posture as Phra Rod and Phra Khong. Likewise, Phra Bang sits under the Bodhi tree and Bodhi leaves in the back like many other amulets but the shape is thinner and the hand posture is more gentle. I could only find one in Bullet wood color. For your interest, I would like to present a nice video clip from a youtuber "คุณพัฒน์ มุมเล็กๆ" for you to enjoy. It is known that dried Bullet Wood flowers are the significant components for making amulets as the fragrant flowers represent faith of the maker. Calling Bullet Wood color is also important for religious ceremony. Then you will finally understand the importance of fresh and dried Bullet Wood flowers. In general, the appearance of Phra Bang is very similar to Phra Khong in the aspect of the radius of Bodhi tree and Bodhi leaves. Phra Bang is very famous for providing popularity and charming to the owner.

ในตัวอย่างของพระสกุลลำพูนที่ดิฉันมีภาพประกอบของพระรอด พระคง และเช้าวันนี้ดิฉันพบว่าในขณะที่ดิฉันกำลังค้นหาแบบของพระลือมาให้ผู้อ่านได้เห็น ดิฉันพบกับพระบางสีดอกพิกุล ซึ่งมีการตั้งชื่อตามแบบที่บางดูอ่อนโยน ศิลปะการนั่งแบบปางมารวิชัย ซึ่งเป็นแบบพระพุทธรูปนั่งในอิริยาบถขัดสมาธิ พระหัตถ์ซ้ายหงายบนพระเพลา พระหัตถ์ขวาคว่ำลงบนพระชานุ เช่นเดียวกับพระรอดและพระคง พระบางก็จะเป็นการนั่งที่มีต้นโพธิ์และใบโพธิ์อยู่ด้านหลัง แต่จะเป็นพระที่มีแบบบางกว่า การวางท่าทอดแขนเป็นแบบอ่อนโยนกว่า แบบของพระบางซึ่งดิฉันหาได้เพียงหนึ่งองค์ ในวันนี้จะมีสีดอกพิกุล โดยถือโอกาสนำ youtube ของคุณพัฒน์ มุมเล็กๆ มาให้ทุกท่านที่สนใจได้ดู ดอกพิกุลแห้งจะเป็นส่วนประกอบในการปั้นพระ เพราะดอกไม้ที่เป็นเครื่องหอมจะอยู่ในความศรัทธา และการเรียกสีดอกพิกุลก็มีความสำคัญกับดอกไม้ในการประกอบพิธีกรรมทางศาสนาเช่นกัน และท่านก็จะได้เข้าใจถึงสีสันของดอกพิกุลทั้งสดและแห้ง โดยทั่วไปแบบของพระบางจะคล้ายกับแบบของพระคง ไม่ว่าจะเป็นซุ้มรัศมีของต้นโพธิ์ใบโพธิ์ หรือต่างกันที่แบบ พระบางจะเป็นที่ชื่นชอบในชื่อเสียงของเมตตามหานิยม และมีเสน่ห์สำหรับผู้ครอบครอง




ดู 176 ครั้ง0 ความคิดเห็น

Commenti


OUR TEAM

I'm a paragraph. Click here to add your own text and edit me. It’s easy. Just click “Edit Text” or double click me to add your own content and make changes to the font. 

Read More

bottom of page