top of page
รูปภาพนักเขียนJanine Yasovant

Phra Khong Lamphun พระคง ลำพูน...

อัปเดตเมื่อ 3 ม.ค. 2563



A new black one on the left. Just found from my collection





Phra Nang Chamdhevi monument by Khun Khaimook Chuto, the sculptor, in Lamphun Province



Lamphun Province Thailand





Phra Khong, Phra Khong Ruesi Temple, Lamphun Province, is a printed Buddha statue sitting on the base of the asana, sitting on the base of the lotus leaf, two layers of Bodhi tree. Which was very influential in the era of Chamadevi Hariphunchai more than 1,300 years ago. The word Khong means to be alive or invincible in the war time.



Chamdhevi Temple Lamphun

It can be classified as fine clay and semi-rough type with red, black, green, white, yellow, brown and Pikul flower color. fingerprints were presented.


Today, the price is not so different from the Phra Rod because it is a temple in the four corners of the city in the same period with the faith of Phra Nang Chamdhevi, the princess of the city of Lopburi who became the king of Hariphunchai city (Lamphun). The style and art of Phra Khong was beautiful and unique.


Illustrations shown here are work of art that has accumulated in my family for more than three generations. Those interested in applying for education only other details. Those interested in the source and style of amulet art are asked to study further.




พระคงกรุวัดพระคงฤาษี เนื้อดินเผา จังหวัดลำพูน เป็นพระพุทธพิมพ์นั่งปางมารวิชัยอยู่บนฐานอาสนะรองนั่งฐานบัวเม็ดสองชั้นปรกโพธิ์ศิลปะอินเดียพุกาม ที่ได้รับอิทธิพลมากในยุคสมัยของพระนางจามเทวี นครหริภุญชัย เมื่อกว่า 1,300 ปีที่ผ่านมา


แบ่งออกเป็นเนื้อดินเผาแบบละเอียดและแบบละเอียดกึ่งหยาบ มีสีแดง,สีดำ,สีเขียว,สีขาว,สีเหลือง,สีเทา(ออกน้ำตาล)และ ที่เรียกว่าสีดอกพิกุล มีรอยนิ้วมือเวลาปั้น


ปัจจุบันนี้ราคาพระคงไม่ต่างกับพระรอดเพราะเป็นวัดที่อยู่สี่มุมเมืองในสมัยเดียวกัน สร้างด้วยจิตศรัทธาของพระนางจามเทวีธิดาสาวเมืองลพบุรีที่มาเป็นกษัตริย์ครองนครหริภุญชัย (ลำพูน) ซึ่งเป็นตำนานเล่าสืบต่อกันมา รูปแบบและศิลปะของพระคงสวยงามเป็นเอกลักษณ์


ภาพประกอบเป็นงานศิลปะที่สะสมไว้ในครอบครัวมามากกว่าสามชั่วอายุคนในครอบครัวแล้ว ผู้ที่สนใจใช้สำหรับการศึกษาเท่านั้น ส่วนรายละเอียดอื่นๆ ผู้ที่สนใจที่มาและรูปแบบของศิลปะพระเครื่องขอให้ศึกษาค้นคว้ากันต่อไป




ดู 129 ครั้ง0 ความคิดเห็น

Comments


OUR TEAM

I'm a paragraph. Click here to add your own text and edit me. It’s easy. Just click “Edit Text” or double click me to add your own content and make changes to the font. 

Read More

bottom of page